9 พื้นที่ส่งเสริมการเดินเท้า
สำหรับโครงการเมืองเดินได้-เมืองเดินดี ในระยะที่ 2 จะเป็นการนำผลลัพธ์ที่ได้จากระยะที่ 1 แผนที่เมืองเดินได้ มาต่อยอดโดยคัดเลือกพื้นที่ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีศักยภาพในการเข้าถึงสูง เหมาะกับการส่งเสริมให้เป็นพื้นที่เมืองที่เอื้อต่อการเดินเท้า มาเป็นพื้นที่ในการศึกษาเชิงคุณภาพ เพื่อหาศักยภาพการเดินเท้า (Walkability) ซึ่งจะดำเนินการเสร็จสิ้นในช่วงต้นปี 2559 โดยคัดเลือกจากพื้นที่ต้นแบบทั้ง 9 ประเภท ดังนี้
ประเภทที่ 1 พื้นที่ย่านพาณิชยกรรมศูนย์กลางเมือง
เช่น ย่านสยาม-ปทุมวัน ย่านประตูน้ำ-เซ็นทรัลเวิร์ล ย่านสีลม-สาทร ย่านบางรัก ย่านอารีย์ เป็นต้น
ประเภทที่ 2 พื้นที่ย่านพาณิชยกรรมสำนักงาน
เช่น ย่านเทเวศร์-สามเสน ย่านอารีย์สัสมพันธ์ ย่านดินแดง-กรุงเทพใหม่ ถนนวิทยุ ย่านซอยละลายทรัพย์ เป็นต้น
ประเภทที่ 3 พื้นที่เปลี่ยนถ่ายการสัญจร
เช่น ย่านอนุสาวรีย์สมรภูมิ ย่านพญาไท ย่านมักกะสัน ย่านสะพานตากสิน ย่านสุขุมวิท-อโศก เป็นต้น
ประเภทที่ 4 พื้นที่ย่านพาณิชยกรรมตามแนวรถไฟฟ้า
เช่น ย่านสถานีพหลโยธิน ย่านสถานีห้วยขวาง ย่านสถานีพระราม 9 ย่านสถานีสามย่าน ย่านสถานีทองหล่อ เป็นต้น
ประเภทที่ 5 พื้นที่ย่านสถานศึกษา
เช่น ย่านบ้านแขก ย่านโบ๊เบ๊-หัวเฉียว ย่านสีลม-ศาลาแดง ย่านสามเสน-บางกระบือ ย่านศิริราช-บางกอกน้อย เป็นต้น
ประเภทที่ 6 พื้นที่ย่านการท่องเที่ยว
เช่น ย่านบางกอกน้อย-วัดระฆัง ย่านท่าพระจันทร์-ท่าพระอาทิตย์ ย่านข้าวสารบางลำพู ย่านวังบูรพา ย่านราชดำเนินกลาง เป็นต้น
ประเภทที่ 7 พื้นที่ย่านอยู่อาศัย
เช่น ย่านลาดพร้าว-วังหิน ย่านบางปะกอก ย่านบางจาก ย่านภาษีเจริญ ย่านกะดีจีน เป็นต้น
ประเภทที่ 8 พื้นที่ย่านพาณิชยกรรมชานเมือง
เช่น ย่านนวมินทร์ ย่านบางกะปิ ย่านมีนบุรี ย่านสะพานใหม่ ย่านหลักสี่ เป็นต้น
ประเภทที่ 9 พื้นที่ย่านพาณิชยกรรมอื่นๆ
เช่น ย่านปิ่นเกล้า ย่านเยาวราช เป็นต้น
สำหรับโครงการเมืองเดินได้-เมืองเดินดี ในระยะที่ 2 จะเป็นการนำผลลัพธ์ที่ได้จากระยะที่ 1 แผนที่เมืองเดินได้ มาต่อยอดโดยคัดเลือกพื้นที่ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีศักยภาพในการเข้าถึงสูง เหมาะกับการส่งเสริมให้เป็นพื้นที่เมืองที่เอื้อต่อการเดินเท้า มาเป็นพื้นที่ในการศึกษาเชิงคุณภาพ เพื่อหาศักยภาพการเดินเท้า (Walkability) ซึ่งจะดำเนินการเสร็จสิ้นในช่วงต้นปี 2559 โดยคัดเลือกจากพื้นที่ต้นแบบทั้ง 9 ประเภท ดังนี้
ประเภทที่ 1 พื้นที่ย่านพาณิชยกรรมศูนย์กลางเมือง
เช่น ย่านสยาม-ปทุมวัน ย่านประตูน้ำ-เซ็นทรัลเวิร์ล ย่านสีลม-สาทร ย่านบางรัก ย่านอารีย์ เป็นต้น
ประเภทที่ 2 พื้นที่ย่านพาณิชยกรรมสำนักงาน
เช่น ย่านเทเวศร์-สามเสน ย่านอารีย์สัสมพันธ์ ย่านดินแดง-กรุงเทพใหม่ ถนนวิทยุ ย่านซอยละลายทรัพย์ เป็นต้น
ประเภทที่ 3 พื้นที่เปลี่ยนถ่ายการสัญจร
เช่น ย่านอนุสาวรีย์สมรภูมิ ย่านพญาไท ย่านมักกะสัน ย่านสะพานตากสิน ย่านสุขุมวิท-อโศก เป็นต้น
ประเภทที่ 4 พื้นที่ย่านพาณิชยกรรมตามแนวรถไฟฟ้า
เช่น ย่านสถานีพหลโยธิน ย่านสถานีห้วยขวาง ย่านสถานีพระราม 9 ย่านสถานีสามย่าน ย่านสถานีทองหล่อ เป็นต้น
ประเภทที่ 5 พื้นที่ย่านสถานศึกษา
เช่น ย่านบ้านแขก ย่านโบ๊เบ๊-หัวเฉียว ย่านสีลม-ศาลาแดง ย่านสามเสน-บางกระบือ ย่านศิริราช-บางกอกน้อย เป็นต้น
ประเภทที่ 6 พื้นที่ย่านการท่องเที่ยว
เช่น ย่านบางกอกน้อย-วัดระฆัง ย่านท่าพระจันทร์-ท่าพระอาทิตย์ ย่านข้าวสารบางลำพู ย่านวังบูรพา ย่านราชดำเนินกลาง เป็นต้น
ประเภทที่ 7 พื้นที่ย่านอยู่อาศัย
เช่น ย่านลาดพร้าว-วังหิน ย่านบางปะกอก ย่านบางจาก ย่านภาษีเจริญ ย่านกะดีจีน เป็นต้น
ประเภทที่ 8 พื้นที่ย่านพาณิชยกรรมชานเมือง
เช่น ย่านนวมินทร์ ย่านบางกะปิ ย่านมีนบุรี ย่านสะพานใหม่ ย่านหลักสี่ เป็นต้น
ประเภทที่ 9 พื้นที่ย่านพาณิชยกรรมอื่นๆ
เช่น ย่านปิ่นเกล้า ย่านเยาวราช เป็นต้น