Blog
"รถไฟฟ้า" ผู้ช่วยส่งเสริมการเดิน
นอกจากจะช่วยลดระยะเวลาการเดินทางแล้ว รถไฟฟ้าขนส่งมวลชนยังช่วยส่งเสริมสุขภาพของคนเมืองอีกด้วย จากการศึกษาพบว่า เมื่อมีการเปลี่ยนพฤติกรรมการเดินทางมาใช้รถไฟฟ้า BTS คนกรุงเทพฯ จะเดินมากขึ้นเกือบสองเท่าตัว โดยระยะเฉลี่ยการเดินเท้า เพิ่มขึ้นจาก 180 เมตร เป็น 480เมตรต่อเที่ยวการเดินทาง
ที่มา: ปานปั้น รองหานาม (2556), “พฤติกรรมการเดินของผู้ที่เปลี่ยนมาใช้บริการรถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS)”, วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นอกจากจะช่วยลดระยะเวลาการเดินทางแล้ว รถไฟฟ้าขนส่งมวลชนยังช่วยส่งเสริมสุขภาพของคนเมืองอีกด้วย จากการศึกษาพบว่า เมื่อมีการเปลี่ยนพฤติกรรมการเดินทางมาใช้รถไฟฟ้า BTS คนกรุงเทพฯ จะเดินมากขึ้นเกือบสองเท่าตัว โดยระยะเฉลี่ยการเดินเท้า เพิ่มขึ้นจาก 180 เมตร เป็น 480เมตรต่อเที่ยวการเดินทาง
ที่มา: ปานปั้น รองหานาม (2556), “พฤติกรรมการเดินของผู้ที่เปลี่ยนมาใช้บริการรถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS)”, วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย